เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารม.2
วันอังคารที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2556
การเขียนผังงาน |
เนื้อหา
• การเขียนผังงาน ( Flowchart ) • ผังงานกับชีวิตประจำวัน
• โครงสร้างการทำงานแบบมีการเลือก ( Selection )
• โครงสร้างการทำงานแบบมีการทำงานซ้ำ
การเขียนผังงาน ( Flowchart )ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
ประโยชน์ของผังงาน• ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม และสามารถนำไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
• ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
• ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
• ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น
วิธีการเขียนผังงานที่ดี• ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำหนดไว้
• ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา
• คำอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย
• ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก
• ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
• ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำงานก่อนนำไปเขียนโปรแกรม
• ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
• ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
• ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น
วิธีการเขียนผังงานที่ดี• ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำหนดไว้
• ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา
• คำอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย
• ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก
• ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
• ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำงานก่อนนำไปเขียนโปรแกรม
ผังงานโปรแกรม ( Program Flowchart )การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ที่เรียกว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ในการสร้างผังงาน ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปต่อไปนี้
จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม | |
ลูกศรแสดงทิศทางการทำงานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล | |
ใช้แสดงคำสั่งในการประมวลผล หรือการกำหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปร | |
แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสำรองเข้าสู่หน่วยความจำหลักภายใน เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมา | |
การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศทางการทำงานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็นเท็จ | |
แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา | |
แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน | |
การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีที่ผังงานมีความยาวเกินกว่าที่จะแสดงพอในหนึ่งหน้า |
รูปที่1 แสดง สัญลักษณ์ในการเขียนผังงานโปรแกรม
ผังงานกับชีวิตประจำวันการทำงานหลายอย่างในชีวิตประจำวัน จะมีลักษณะที่เป็นลำดับขั้นตอน ซึ่งก่อนที่ท่านจะได้ศึกษาวิธีการเขียนผังงานโปรแกรม จะแนะนำให้ท่านลองฝึกเขียนผังงานที่แสดงการทำงานในชีวิตประจำวันวันก่อนเพื่อเป็น การสร้างความคุ้นเคยกับสัญลักษณ์รูปภาพต่าง ๆ ที่จะมีใช้ในผังงานโปรแกรมต่อไป ดัง ตัวอย่าง 1 เขียนผังงานที่แสดงขั้นตอนการส่งจดหมาย
รูปที่ 2 แสดงการเขียนผังงานที่แสดงขั้นตอนการส่งจดหมาย
ตัวอย่างที่ 2 เขียนผังงานแสดงวิธีการรับประทานยา ที่แบ่งขนาดรับประทานตามอายุของผู้ทานดังนี้
• อายุมากกว่า 10 ปี รับประทานครั้งละ 2 ช้อนชา
• อายุมากกว่า 3 ปี ถึง 10 ปี รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา
• อายุมากกว่า 1 ปี ถึง 3 ปี รับประทานครั้งละ 1/2 ช้อนชา
• แรกเกิดถึง 1 ปี ห้ามรับประทาน
• อายุมากกว่า 10 ปี รับประทานครั้งละ 2 ช้อนชา
• อายุมากกว่า 3 ปี ถึง 10 ปี รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา
• อายุมากกว่า 1 ปี ถึง 3 ปี รับประทานครั้งละ 1/2 ช้อนชา
• แรกเกิดถึง 1 ปี ห้ามรับประทาน
รูปที่ 3 แสดงการเขียนผังงานแสดงวิธีการรับประทานยา
โครงสร้างการทำงานแบบมีการเลือก ( Selection )เป็นโครงสร้างที่ใช้การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยโครงสร้างแบบนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ IF - THEN - ELSE และ IF - THEN
รูปที่4 แสดงโครงสร้างผังงานแบบมีการเลือก
โครงสร้างแบบ IF - THEN - ELSE เป็นโครงสร้างที่จะทำการเปรียบเทียบเงื่อนไขที่ใส่ไว้ในส่วนหลังคำว่า IF และเมื่อได้ผลลัพธ์จากการเปรียบเทียบก็จะเลือกว่าจะทำงานต่อในส่วนใด กล่าวคือถ้าเงื่อนไขเป็นจริง ( TRUE ) ก็จะเลือกไปทำงานต่อที่ส่วนที่อยู่หลัง THEN แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ ( FALSE ) ก็จะไปทำงานต่อในส่วนที่อยู่หลังคำว่า ELSE
แต่ถ้าสำหรับโครงสร้างแบบ IF - THEN เป็นโครงสร้างที่ไม่มีการใช้ ELSE ดังนั้น ถ้ามีการเปรียบเทียบเงื่อนไขที่อยู่หลัง IF มีค่าเป็นจริง ก็จะไปทำส่วนที่อยู่หลัง Then แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะไปทำคำสั่งที่อยู่ถัดจาก IF - THEN แทน
ตัวอย่าง 3 การเขียนผังงานอ่านค่าข้อมูลเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และ B แล้วทำการเปรียบเทียบในตัวแปรทั้งสอง โดยมีเงื่อนไขดังนี้
• ถ้า A มากกว่า B ให้คำนวณหาค่า A - B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT
• ถ้า A น้อยกว่าหรือเท่ากับ B ให้คำนวณหาค่า A + B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT
• ถ้า A มากกว่า B ให้คำนวณหาค่า A - B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT
• ถ้า A น้อยกว่าหรือเท่ากับ B ให้คำนวณหาค่า A + B และเก็บผลลัพธ์ไว้ในตัวแปรชื่อ RESULT
รูปที่ 3 แสดงการเขียนผังงานอ่านค่าข้อมูล
ตัวอย่าง 4 การเขียนผังงานเปรียบเทียบค่าข้อมูลที่เก็บอยู่ในตัวแปร X โดยมีเงื่อนไขดังนี้• ถ้า X > 0 ให้พิมพ์คำว่า " POSITIVE NUMBER "
• ถ้า X < 0 ให้พิมพ์คำว่า " NEGATIVE NUMBER "
• ถ้า X = 0 ให้พิมพ์คำว่า " ZERO NUMBER "
• ถ้า X < 0 ให้พิมพ์คำว่า " NEGATIVE NUMBER "
• ถ้า X = 0 ให้พิมพ์คำว่า " ZERO NUMBER "
รูปที่ 4 แสดงการเขียนผังงานเปรียบเทียบค่าข้อมูล
โครงสร้างการทำงานแบบมีการทำงานซ้ำเป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุ่มคำสั่งซ้ำหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขที่กำหนด อาจเรียก การทำงานซ้ำแบบนี้ได้อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการทำงานซ้ำนี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ
• DO WHILE
• DO UNTIL
• DO WHILE
• DO UNTIL
DO WHILEเป็นโครงสร้างที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะเข้ามาทำงานในกลุ่มคำสั่งที่ต้องทำซ้ำ ซึ่งเรียกว่าการเข้าลูป หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นจริงอยู่ ก็ยังคงต้องทำกลุ่มคำสั่งซ้ำหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปไปทำคำสั่งถัดไปที่อยู่ถัดจาก DO WHILE หรืออาจเป็นการจบการทำงาน
แสดงโครงสร้างการทำงานซ้ำแบบ DO WHILE
DO UNTILเป็นโครงสร้างการทำงานแบบทำงานซ้ำเช่นกัน แต่มีการทำงานที่แตกต่างจาก DO WHILE คือจะมีการเข้าทำงานกลุ่มคำสั่งที่อยู่ภายในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ครั้ง แล้วจึงจะไปทดสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จก็จะมีการเข้าทำกลุ่มคำสั่งที่ต้องทำซ้ำอีก หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนไขยังคงเป็นเท็จอยู่ ก็ยังต้องทำกลุ่มคำสั่งซ้ำหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จึงจะออกจากลูปไปทำคำสั่งถัดจาก UNTIL หรืออาจเป็นการจบการทำงาน
แสดงโครงสร้างการทำงานซ้ำแบบ DO UNTIL
สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DO WHILE และ DO UNTIL มีดังนี้1. DO WHILE ในการทำงานครั้งแรกจะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทุกครั้ง ก่อนที่จะมีการเข้ลูปการทำงาน
2. DO UNTIL การทำงานครั้งแรกจะยังไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข แต่จะเข้าไปทำงานในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ครั้งแล้วจึงจะไปตรวจสอบเงื่อนไข
3. DO WHILE จะมีการเข้าไปทำงานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นจริง แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปทันที
4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปทำงานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นเท็จ แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็นจริง ก็จะออกจากลูปทันที
2. DO UNTIL การทำงานครั้งแรกจะยังไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข แต่จะเข้าไปทำงานในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ครั้งแล้วจึงจะไปตรวจสอบเงื่อนไข
3. DO WHILE จะมีการเข้าไปทำงานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นจริง แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปทันที
4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปทำงานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นเท็จ แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็นจริง ก็จะออกจากลูปทันที
ตัวอย่าง 5 จงเขียนผังงานแสดงการเพิ่มของข้อมูลตัวเลขที่เก็บอย่ในหน่วยความจำที่แอดเดรส 1 โดยที่ค่าเริ่มต้นจาก 0 ให้ทำการเพิ่มค่าทีละ 1 เรื่อยไปจนกระทั่ง J มีค่าข้อมูลมากกว่า 100 จึงหยุดการทำงาน
ตัวอย่างนี้ เป็นตัวอย่างการทำงานแบบทำซ้ำ ซึ่งจะสามารถแสดงการเขียนได้ทั้งแบบ DO WHILE และ DO UNTIL ดังนี้
ตัวอย่างนี้ เป็นตัวอย่างการทำงานแบบทำซ้ำ ซึ่งจะสามารถแสดงการเขียนได้ทั้งแบบ DO WHILE และ DO UNTIL ดังนี้
|
วันอังคารที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2556
บัญญัติ 10 ประการ
ซึ่งเป็นจรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรยึดถือไว้เสมือนเป็นแม่แบบของการปฏิบัติ ซึ่งผู้ใช้พึงระลึกและเตือนความจำเสมอ1.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น เช่น ไม่เผยแพร่ข้อความกล่าวหาบุคลอื่นให้ได้รับความเสียหาย ไม่เผยแพร่รูปภาพลามกอนาจาร เป็นต้น
2.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนการทำงานของผู้อื่น เช่น การเล่นเกมหรือเปิดเพลงด้วยคอมพิวเตอร์รบกวนผู้อื่นที่อยู่ใกล้เคียง
3.ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต
4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์คัดลอกหรือใช้โปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาต
7.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีลิขสิทธิ์
8.ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันเป็นผลมาจากการกระทำของตน
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมีมารยาทของหน่วยงาน สถาบันหรือสังคมนั้นๆ
วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ความ |
ซอฟท์แวร์ |
ชนิด |
-
- ซอฟต์แวร์ระบบ
คือ ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท ผู้ ผลิต สร้าง ขึ้น มา เพื่อ ใช้ จัด การกับระบบ หน้า ที่ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำ เนิน งาน พื้น ฐาน ต่าง ๆ ของ ระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น รับ ข้อ มูล จาก แผง แป้น อักขระ แล้ว แปล ความ หมาย ให้ คอมพิวเตอร์ เข้า ใจ นำ ข้อ มูล ไป แสดง ผล บน จอ ภาพ หรือ นำ ออก ไป ยังเครื่องพิมพ์ จัด การ ข้อ มูล ใน ระบบ แฟ้ม ข้อ มูล บน หน่วย ความ จำ รอง - เมื่อ
เรา เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทัน ที ที่ มี การ จ่าย กระแส ไฟ ฟ้า ให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ตาม โปรแกรม ทัน ที โปรแกรม แรก ที่ สั่ง คอมพิวเตอร์ ทำ งาน นี้ เป็น ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ อาจ เก็บ ไว้ ใน รอม หรือ ใน แผ่น จาน แม่ เหล็ก หาก ไม่ มี ซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ไม่ ได้ - ซอฟต์แวร์ระบบ
ยัง ใช้ เป็นเครื่องมือ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ และ ยัง รวม ไป ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ต่าง ๆ - ซอฟต์แวร์ประยุกต์
เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้กับงาน ด้าน ต่าง ๆ ตาม ความ ต้อง การ ของ ผู้ ใช้ ที่ สามารถ นำ มา ใช้ ประ โยชน์ ได้ โดย ตรง ปัจจุบัน มี ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน ทางด้าน ต่าง ๆ ออก จำหน่าย มาก การ ประยุกต์ งาน คอมพิวเตอร์ จึง กว้าง ขวาง และ แพร่ หลาย เรา อาจ แบ่ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ออก เป็น สอง กลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และ ซอฟต์แวร์ที่ พัฒนา ขึ้น ใช้ งาน เฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จ ใน ปัจจุบัน มี มาก มาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ฯล ฯ - ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟท์แวร์ |
-
- ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย รับ เข้า และ หน่วย ส่ง ออก เช่น รับ การ กด แป้น ต่าง ๆ บน แผง แป้น อักขระ ส่ง รหัส ตัว อักษร ออก ทางจอ ภาพ หรือเครื่องพิมพ์ ติด ต่อกับอุปกรณ์ รับ เข้า และ ส่ง ออก อื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์ สังเคราะห์ เสียง - ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย ความ จำ เพื่อ นำ ข้อ มูล จาก แผ่น บัน ทึก มา บรรจุ ยัง หน่วย ความ จำ หลัก หรือ ใน ทำนอง กลับ กัน คือ นำ ข้อ มูล จาก หน่วย ความ จำ หลัก มา เก็บ ไว้ ใน แผ่น บัน ทึก - ใช้
เป็น ตัว เชื่อม ต่อ ระหว่าง ผู้ ใช้ งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถ ใช้ งาน ได้ ง่ายขึ้น เช่น การ ขอ ดู ราย การ สารบบ ใน แผ่น บัน ทึก การ ทำ สำเนา แฟ้ม ข้อ มูล - ใช้
- ระบบ
ปฏิบัติ การ - ระบบ
ปฏิบัติ การ หรือ ที่ เรียก ย่อ ๆ ว่า โอ เอส (Operating System : OS) เป็น ซอฟต์แวร์ใช้ ใน การ ดู แล ระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะ ต้อง มี ซอฟต์แวร์ระบบ ปฏิบัติ การ นี้ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ นิยม ใช้ กัน มาก และ เป็น ที่ รู้ จัก กัน ดี เช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอ เอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) - 1) ดอส
เป็น ซอฟต์แวร์จัด ระบบ งาน ที่ พัฒนา มา นาน แล้ว การ ใช้ งาน จึง ใช้ คำ สั่ง เป็น ตัว อักษร ดอสเป็น ซอฟต์แวร์ที่ รู้ จัก กัน ดี ใน หมู่ ผู้ ใช้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ - 2) วินโดวส์ เป็น
ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา ต่อ จากดอส เพื่อ เน้น การ ใช้ งาน ที่ ง่ายขึ้น สามารถ ทำ งาน หลาย งาน พร้อม กัน ได้ โดย งาน แต่ ละ งาน จะ อยู่ ใน กรอบ ช่อง หน้า ต่าง ที่ แสดง ผล บน จอ ภาพ การ ใช้ งาน เน้น รูป แบ บก รา ฟิก ผู้ ใช้ งาน สามารถ ใช้ เมาส์เลื่อน ตัว ชี้ ตำแหน่ง เพื่อ เลือก ตำแหน่ง ที่ปรากฏบน จอ ภาพ ทำ ให้ ใช้ งาน คอมพิวเตอร์ ได้ ง่าย วินโดวส์จึง ได้ รับ ความ นิยม ใน ปัจจุบัน - 3) โอ
เอสทู เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ แบบ เดียวกับวินโดว์ส แต่ บริษัท ผู้ พัฒนา คือ บริษัท ไอบีเอ็ม เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ให้ ผู้ ใช้ สามารถ ใช้ ทำ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ การ ใช้ งาน ก็ เป็น แบ บก รา ฟิก เช่น เดียวกับวินโดวส ์ - 4) ยูนิกซ์
เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา มา ตั้ง แต่ ครั้ง ใช้กับเครื่องมิ นิ คอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติ การยูนิกซ์เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ สามารถ ใช้ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ ทำ งาน ได้ หลาย ๆ งาน ใน เวลา เดียว กัน ยูนิกซ์จึง ใช้ ได้กับเครื่องที่ เชื่อม โยง และ ต่อกับเครื่อปลาย ทางได้ หลายเครื่องพร้อม กัน - ระบบ
ปฏิบัติ การ ยัง มี อีก มาก โดย เฉพาะ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ใช้ ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เพื่อ ให้ คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ร่วม กัน เป็น ระบบ เช่น ระบบ ปฏิบัติ การเน็ตแวร์ วินโดว์สเอ็น ที
- ตัว
แปล ภาษา - ใน
การ พัฒนา ซอฟต์แวร์จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ระดับ สูง เพื่อ แปล ภาษา ระดับ สูง ให้ เป็น ภาษาเครื่อง ภาษา ระดับ สูง มี หลาย ภาษา ภาษา ระดับ สูง เหล่า นี้ สร้าง ขึ้น เพื่อ ให้ ผู้ เขียน โปรแกรม เขียน ชุด คำ สั่ง ได้ ง่าย เข้า ใจ ได้ ตลอด จน ถึง สามารถ ปรับ ปรุง แก้ ไข ซอฟต์แวร์ใน ภาย หลัง ได้ - ภาษา
ระดับ สูง ที่ พัฒนา ขึ้น มา ทุก ภาษา จะ ต้อง มี ตัว แปล ภาษา สำหรับ แปล ภาษา ภาษา ระดับ สูง ซึ่ง เป็น ที่ รู้ จัก และ นิยม กัน มาก ใน ปัจจุบัน เช่น ภาษา ปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษา ซี และ ภาษาโลโก - 1) ภาษา
ปาสคาล เป็น ภาษา สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ ที่ มี รูป แบบ เป็น โครง สร้าง เขียน สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ เป็น กระบวน ความ ผู้ เขียน สามารถ แบ่ง แยก งาน ออก เป็น ชิ้น เล็ก ๆ แล้ว มา รวม กัน เป็น โปรแกรม ขนาด ใหญ่ ได้ - 2) ภาษาเบสิก
เป็น ภาษา ที่ มี รูป แบบ คำ สั่ง ไม่ ยุ่ง ยาก สามารถ เรียน รู้ และ เข้า ใจ ได้ ง่าย มี รูป แบบ คำ สั่ง พื้น ฐาน ที่ สามารถ นำ มา เขียน เรียง ต่อ กัน เป็น โปรแกรม ได้ - 3) ภาษาซ
ี เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ ใช้ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษา ซี เป็น ภาษา ที่ มี โครง สร้าง คล่อง ตัว สำหรับ การ เขียน โปรแกรม หรือ ให้ คอมพิวเตอร์ ติดต ่อกับอุปกรณ์ ต่าง ๆ - 4) ภาษาโลโก
เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ การ เรียน รู้ และ เข้า ใจ หลัก การ โปรแกรม ภาษาโลโก ได้ รับ การ พัฒนา สำ หรับ เด็ก - นอก
จาก ภาษา ที่ กล่าว ถึง แล้ว ยัง มี ภาษา คอมพิวเตอร์ ที่ ใช้ กัน อยู่ ใน ปัจจุบัน อีก มาก มาย หลาย ภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษา โค บอล ภาษา อาร์พีจ ี - ระบบ
ซอฟท์แวร์ |
- ซอฟต์แวร์สำเร็จ
- ใน
บรรดา ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ที่ มี ใช้ กัน ทั่ว ไป ซอฟต์แวร์สำเร็จ (package) เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี ความ นิยม ใช้ กัน สูง มาก ซอฟต์แวร์สำเร็จ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท พัฒนา ขึ้น แล้ว นำ ออก มา จำหน่าย เพื่อ ให้ ผู้ ใช้ งาน ซื้อ ไป ใช้ ได้ โดย ตรง ไม่ ต้อง เสีย เวลา ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สำเร็จ ที่ มี จำหน่าย ใน ท้อง ตลาด ทั่ว ไป และ เป็น ที่ นิยม ของ ผู้ ใช้ มี 5 กลุ่ม ใหญ่ ได้ แก่ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ (word processing software) ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นำ เสนอ (presentation software) และ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล (data communication software) - 1) ซอฟต์แวร์ประมวล
คำ เป็น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ใช้ สำหรับ การ พิมพ์ เอก สาร สามารถ แก้ ไข เพิ่ม แทรก ลบ และ จัด รูป แบบ เอก สาร ได้ อย่าง ดี เอก สาร ที่ พิมพ์ ไว้ จัด เป็น แฟ้ม ข้อ มูล เรียก มา พิมพ์ หรือ แก้ ไข ใหม่ ได้ การ พิมพ์ ออก ทางเครื่องพิมพ์ ก็ มี รูป แบบ ตัว อักษร ให้ เลือก หลาย รูป แบบ เอก สาร จึง ดู เรียบ ร้อย สวย งาม ปัจจุบัน มี การ เพิ่ม ขีด ความ สามารถ ของ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ อีก มาก มาย ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ที่ นิยม อยู่ ใน ปัจจุบัน เช่น วินส์เวิร์ด จุฬา จารึก โลตัสเอ มิ โป ร - 2) ซอฟต์แวร์ตา
ราง ทำ งาน เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ คิด คำนวณ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ใช้ หลัก การ เสมือน มี โต๊ะ ทำ งาน ที่ มี กระดาษ ขนาด ใหญ่ วาง ไว้ มีเครื่องมือ คล้าย ปากกา ยาง ลบ และเครื่องคำนวณ เตรียม ไว้ ให้ เสร็จ บน กระดาษ มี ช่อง ให้ ใส่ ตัว เลข ข้อ ความ หรือ สูตร สามารถ สั่ง ให้ คำนวณ ตาม สูตร หรือ เงื่อน ไข ที่ กำหนด ผู้ ใช้ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน สามารถ ประยุกต์ ใช้ งาน ประมวล ผล ตัว เลข อื่น ๆ ได้ กว้าง ขวาง ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซล โลตั ส - 3) ซอฟต์แวร์จัด
การ ฐาน ข้อ มูล การ ใช้ คอมพิวเตอร์ อย่าง หนึ่ง คือ การ ใช้ เก็บ ข้อ มูล และ จัด การกับข้อ มูล ที่ จัด เก็บ ใน คอมพิวเตอร์ จึง จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์จัด การ ข้อ มูล การ รวบ รวม ข้อ มูล หลาย ๆ เรื่อง ที่ เกี่ยว ข้อง กัน ไว้ ใน คอมพิวเตอร์ เรา ก็ เรียก ว่า ฐาน ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล จึง หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ เก็บ การ เรียก ค้น มา ใช้ งาน การ ทำ ราย งาน การ สรุป ผล จาก ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซส ดี เบส พา ราด็อก ฟ๊อก เบส - 4) ซอฟต์แวร์นำ
เสนอ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ สำหรับ นำ เสนอ ข้อ มูล การ แสดง ผล ต้อง สามารถ ดึง ดูด ความ สน ใจ ซอฟต์แวร์เหล่า นี้ จึง เป็น ซอฟต์แวร์ที่ นอก จาก สามารถ แสดง ข้อ ความ ใน ลักษณะ ที่ จะ สื่อ ความ หมาย ได้ ง่ายแล้ว จะ ต้อง สร้าง แผน ภูมิ กราฟ และ รูป ภาพ ได้ ตัว อย่าง ของ ซอฟต์แวร์นำ เสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัสฟรี แลนซ์ ฮาร์วาร์ดก รา ฟิก - 5) ซอฟต์แวร์สื่อ
สาร ข้อ มูล ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล นี้ หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ จะ ช่วย ให้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ติด ต่อ สื่อ สารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่น ใน ที่ ห่าง ไกล โดย ผ่าน ทางสาย โทรศัพท์ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ใช้ เชื่อม โยง ต่อ เข้ากับระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำ ให้ สามารถ ใช้ บริการ อื่น ๆ เพิ่ม เติม ได้ สามารถ ใช้ รับ ส่ง ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ใช้ โอน ย้าย แฟ้ม ข้อ มูล ใช้ แลก เปลี่ยน ข้อ มูล อ่าน ข่าว สาร นอก จาก นี้ ยัง ใช้ ใน การ เชื่อม เข้า หา มิ นิ คอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม เพื่อ เรียก ใช้ งาน จากเครื่องเหล่า นั้น ได้ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล ที่ นิยม มี มาก มาย หลาย ซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์ค เท ลิ ก
- ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ - การ
ประยุกต์ ใช้ งาน ด้วย ซอฟต์แวร์สำเร็จ มัก จะ เน้น การ ใช้ งาน ทั่ว ไป แต่ อาจ จะ นำ มา ประยุกต์ โดย ตรงกับงาน ทางธุรกิจ บาง อย่าง ไม่ ได้ เช่น ใน กิจ การ ธนาคาร มี การ ฝาก ถอน เงิน งาน ทางด้าน บัญชี หรือ ใน ห้าง สรรพ สิน ค้า ก็ มี งาน การ ขาย สิน ค้า การ ออก ใบ เสร็จ รับ เงิน การ ควบ คุม สิน ค้า คง คลัง ดัง นั้น จึง ต้อง มี การ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ สำหรับ งาน แต่ ละ ประเภท ให้ ตรงกับความ ต้อ งการ ของ ผู้ ใช้ แต่ ละ ราย - ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ มัก เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ผู้ พัฒนา ต้อง เข้า ไป ศึกษา รูป แบบ การ ทำ งาน หรือ ความ ต้อง การ ของ ธุรกิจ นั้น ๆ แล้ว จัด ทำ ขึ้น โดย ทั่ว ไป จะ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี หลาย ส่วน รวม กัน เพื่อ ร่วม กัน ทำ งาน ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ที่ ใช้ กัน ใน ทางธุรกิจ เช่น ระบบ งาน ทางด้าน บัญชี ระบบ งาน จัด จำหน่าย ระบบ งาน ใน โรง งาน อุตสาหกรรม บริหาร การ เงิน และ การเช่าซื้อ - ความ
ต้อง การ ของ การ ใช้ คอมพิวเตอร์ ใน งาน ทางธุรกิจ ยัง มี อีก มาก ดัง นั้น จึง ต้อง มี ความ ต้อง การ ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์เพื่อ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ต่าง ๆ อีก มาก มาย - ใน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)